• หน้าหลัก
    Home
  • เกี่ยวกับเรา
    About Us
    • โครงสร้างองค์กร Organization Chart
    • กลยุทธ์ STRATEGY
    • พันธกิจ MISSION
  • บุคลากร
    Staff
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ศูนย์บริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม
    • บุคลากรศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา
    • บุคลากรสำนักงานอุทยานวิทยาศาสตร์
    • บุคลากรศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ
    • บุคลากรพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ อพ.สร.
    • บุคลากรโครงการ Innovation Hub KKU
  • ประกาศ
    Announcement
  • MOU/
    MOA
  • บริการ
    Services
  • หน่วยงาน
    Organizations
  • ติดต่อเรา
    Contact us
  • สำหรับบุคลากร
    Staff only

หมวดหมู่

  • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • นวัตกรรมเครื่องสำอาง
  • นวัตกรรมยา
  • นวัตกรรมดิจิตอล

แคปซูลดิลลีเนียสำหรับต้านโรคอัลไซเมอร์

6 มี.ค. 2564 36

ชื่อผลงานวิจัย

แคปซูลดิลลีเนียสำหรับต้านโรคอัลไซเมอร์

สถานภาพทรัพย์สินทางปัญญา

อยู่ระหว่างการขอรับสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1501002703 ยื่นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558

ชื่อผู้ทรงสิทธิ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ชื่อนักวิจัย

ศาสตราจารย์อรุณรัตน์ ฉวีราช และคณะ

หน่วยงานต้นสังกัด

คณะวิทยาศาสตร์

ที่มา ข้อมูลเบื้องต้นของผลงาน

        โรคอัลไซเมอร์ การนอนไม่หลับและทานอาหารได้น้อย เป็นอาหารที่มักเกิดขึ้นในผู้สูงวัยการศึกษาทางการแพทย์รายงานว่า โรคอัลไซเมอร์ยังไม่มียาที่รักษาโรคให้หายขาดได้ การรักษาส่วนใหญ่จึงเป็นการรักษาตามอาการ จึงเน้นไปที่การยับยั้งการดำเนินโรคเพื่อคงการทำงานของสมองไว้ให้นานที่สุด โดยยาหลักที่ใช้ในการรักษามี 4 ชนิด ได้แก่ โดเนพีซิล (donepezil) ไรวาสติกมีน (rivastigmine) กาลาแมนทีน (galamantine) และมีแมนทีน (memantine) ซึ่งมีราคาแพง และมักทำให้เกิดอาการข้างเคียงกับผู้ป่วยบางราย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง

        ปัจจุบันมีการนำผลิตภัณฑ์ที่สกัดจากพืชบางชนิดมาใช้ เช่น กิงโก้ ไลโลบา (SWANSON Gingko Bioloba Extract 24%) ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของประเทศจีน มีวรรพคุณชะลออาการอัลไซเมอร์ในผูสูงอายุ เสริมสร้างความทรงจำ บรรเทาความเครียดและวิตกกังวลในผู้สูงอายุ แต่การใช้มีข้อระวังคือ ผู้ป่วยที่มีปัฐหาด้านความดันโลหิตสูงควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานผลิตภัณฑ์นี้

        จากข้อจำกัดข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิจัยหาสารออกฤทธิ์ต้านอาการอัลไซเมอร์ที่พบในพืชประเทศไทย ซึ่งผลการวิจัยพบว่าพืชสกุลดิลลีเนีย (Dillenia) 3 ชนิด มีสารโอลีเอไมด์ (Oleamide) ซึ่งเป็นสารที่มีฤทธิ์ต้านอัลไซเมอร์ ชักนำให้หลับลึกและอยากอาหาร

จุดเด่นของผลงาน

-มีผลงานวิจัยรองรับในระดับห้องปฏิบัติการ

-ผลการทดลองในมนุษย์

-ต้านอาการของโรคอัลไซเมอร์ ช่วยให้หลับลึกและอยากอาหาร

-ผ่านการทดสอบความเป็นพิษ

 

สอบถามเพิ่มเติม : พิชชานันท์ พงษ์พรรณากูล/ จินดาพร พลสูงเนิน/ พรรณรวี กบิลพัฒน์

สำนักงานบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 2 สำนักงานอธิการบดี อาคาร 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถ.มิตรภาพ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002

โทรศัพท์ 043-202733 / 086-4514455 เว็บไซต์ : https://ip.kku.ac.th อีเมล์ : chinph@kku.ac.th / pitcpo@kku.ac.th /panravee@kku.ac.th

 

 

KKUINNOPRISE

พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ของมหาวิทยาลัยสู่สังคมและพาณิชย์ทั้งภาครัฐและเอกชน

แหล่งทุน Grantiong Agency

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช)

National Research Council of Thailand (NRCT)

ระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

สอวช

สำนักงานนวัตกรรม

ติดต่อสอบถาม

ศูนย์บริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม สำนักงานอธิการบดี
อาคาร 2 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002

Tel: 043-009700 ต่อ 42129

Tel: 084-3931146

Email: kku.innoprise@gmail.com

Working Hours: 08.30 น. - 16.30 น.

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • ศูนย์สื่อการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • ศูนย์บริการสู่ชุมชน สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำจังหวัดหนองคาย สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงาน สังกัดวิศวกรรมศาสตร์
  • ศูนย์ภาษาอาเซียน สังกัดคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • ศูนย์บริการจัดการด้านโรงแรม สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • อุทยานวิทยาศาสตร์ สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • สถานบริหารจัดการงานวิจัยคลินิก (Academic Clinical Research Office, ACRO) สังกัดคณะแพทยศาสตร์
  • สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด สังกัดคณะเทคนิคการแพทย์
  • สถาบันทรัพยากรน้ำใต้ดิน สังกัดสำนักงานอธิการบดี
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
10,116

© Copyright KKU. All Rights Reserved