• หน้าหลัก
    Home
  • เกี่ยวกับเรา
    About Us
    • โครงสร้างองค์กร Organization Chart
    • กลยุทธ์ STRATEGY
    • พันธกิจ MISSION
  • บุคลากร
    Staff
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ศูนย์บริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม
    • บุคลากรศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา
    • บุคลากรสำนักงานอุทยานวิทยาศาสตร์
    • บุคลากรศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ
    • บุคลากรพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ อพ.สร.
    • บุคลากรโครงการ Innovation Hub KKU
  • ประกาศ
    Announcement
  • MOU/
    MOA
  • บริการ
    Services
  • หน่วยงาน
    Organizations
  • ติดต่อเรา
    Contact us
  • สำหรับบุคลากร
    Staff only

หมวดหมู่

  • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • นวัตกรรมเครื่องสำอาง
  • นวัตกรรมยา
  • นวัตกรรมดิจิตอล

โจ๊กสุขภาพสำหรับวัยทองและผู้สูงวัย ช่วยส่งเสริมการสร้างกระดูกและยับยั้งการสลายกระดูก

6 มี.ค. 2564 77

โจ๊กสุขภาพสำหรับวัยทองและผู้สูงวัย

จุดเด่นของผลงาน    

  • มีปริมาณสารประกอบฟีนอล ฟลาโวนอยด์ และ แคลเซียมสูง
  • ชงในน้ำร้อนรับประทานได้เลย
  • บริโภควันละซองต่อเนื่อง 2 เดือน ช่วยให้จดจ่อต่อสิ่งเร้า ทำให้เพิ่มความจำขณะทำงานได้โดยผ่านการเพิ่มการทำงานของสารสื่อประสาทในสมอง
  • ช่วยส่งเสริมการสร้างกระดูกและยับยั้งการสลายกระดูก

 

 

ชื่อนักวิจัย

รองศาสตราจารย์จินตนาภรณ์ วัฒนธร และคณะ

หน่วยงานต้นสังกัด

คณะแพทยศาสตร์

ที่มาข้อมูลเบื้องต้นของผลงาน

        เมื่อผู้หญิงเข้าสู่วัยทองคือช่วงอายุประมาณ 50 ปี รังไข่จะหยุดทำงานทำให้มีการสิ้นสุดของวงรอบประจำเดือนและทำให้ฮอร์โมนเพศหญิงคือฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen hormone) มีปริมาณต่ำลงอย่างรวดเร็ว เมื่อรังไข่สร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงเรื่อยๆจะส่งผลให้หญิงวัยทองมีอาการที่สัมพันธ์กับการหมดประจำเดือน เรียกว่ากลุ่มอาการวัยทอง ได้แก่ อาหารร้อนวูบวาบตามร่างกาย เหงื่อออกมากตามมือและเท้าโดยเฉพาะในเวลากลางคืน อ่อนเพลียง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ หลงลืมง่ายหรือความจำบกพร่อง ตลอดจนพบว่ากระดูกจะค่อยๆบางลง ส่งผลให้เกิดโรคกระดูกพรุนและกระดูกหักง่าย

การรักษากลุ่มอาการวัยทองในปัจจุบันคือการให้ฮอร์โมนทดแทนแต่อย่างไรก็ตามการให้ฮอร์โมนทดแทนในระยะเวลาที่ยาวนานจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ตามมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม

จากรายงานการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าสาร Phytoestrogen เช่น Isoflavone และ quercetin ที่พบในพืชผัก สามารถออกฤทธิ์ได้คล้ายกับฮอร์โมนเอสโตรเจน ดังนั้นผู้วิจัยจึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาอาหารสุขภาพเพื่อใช้รักษาภาวะความจำบกพร่องและภาวะกระดูกพรุนในหญิงวัยทอง โดยพัฒนาจากผักพื้นบ้านอีสานที่มีต้นทุนต่ำ มีศักยภาพและความปลอดภัยสูง

 

สอบถามเพิ่มเติม :  จินดาพร พลสูงเนิน / พรรณรวี กบิลพัฒน์

ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา  ชั้น 2  สำนักงานอธิการบดี อาคาร 2  มหาวิทยาลัยขอนแก่น   ถ.มิตรภาพ   อ.เมือง  จ.ขอนแก่น  40002  

โทรศัพท์ : 043-202733 / 086-4514455   เว็บไซต์ : https://ip.kku.ac.th  อีเมล์ : chinph@kku.ac.th / panravee@kku.ac.th

KKUINNOPRISE

พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ของมหาวิทยาลัยสู่สังคมและพาณิชย์ทั้งภาครัฐและเอกชน

แหล่งทุน Grantiong Agency

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช)

National Research Council of Thailand (NRCT)

ระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

สอวช

สำนักงานนวัตกรรม

ติดต่อสอบถาม

ศูนย์บริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม สำนักงานอธิการบดี
อาคาร 2 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002

Tel: 043-009700 ต่อ 42129

Tel: 084-3931146

Email: kku.innoprise@gmail.com

Working Hours: 08.30 น. - 16.30 น.

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • ศูนย์สื่อการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • ศูนย์บริการสู่ชุมชน สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำจังหวัดหนองคาย สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงาน สังกัดวิศวกรรมศาสตร์
  • ศูนย์ภาษาอาเซียน สังกัดคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • ศูนย์บริการจัดการด้านโรงแรม สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • อุทยานวิทยาศาสตร์ สังกัดสำนักงานอธิการบดี
  • สถานบริหารจัดการงานวิจัยคลินิก (Academic Clinical Research Office, ACRO) สังกัดคณะแพทยศาสตร์
  • สถานบริการสุขภาพเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด สังกัดคณะเทคนิคการแพทย์
  • สถาบันทรัพยากรน้ำใต้ดิน สังกัดสำนักงานอธิการบดี
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
10,120

© Copyright KKU. All Rights Reserved